ปวดไม่หาย ทำอย่างไรดี ?

ด้วยสภาวะการทำงานในปัจจุบันนี้ หลายคนมักมีอาการปวดตามส่วนต่างๆมากขึ้น ทั้งที่มีสาเหตุและหาสาเหตุไม่ได้ และหลายคนก็ต้องทนอยู่กับอาการเจ็บปวดนานเป็นเดือนหรือมากกว่านั้น วันนี้เราจะมาทำความเข้าใจกันว่าอาการปวดมีอะไรบ้าง เพื่อหาแนวทางในการรักษาที่เหมาะสมกันค่ะ

อาการปวดเป็นอาการที่เกิดร่วมกับอาการบาดเจ็บ มีได้หลายสาเหตุ แบ่งออกเป็น 2 แบบ

ปวดเฉียบพลัน คือ อาการปวดที่เพิ่งเกิดขึ้น ระยะเวลายังไม่ถึง 3 เดือน ส่วนใหญ่เป็นอาการปวดที่มีสาเหตุ หากสาเหตุหรือพยาธิสภาพหายไป อาการปวดก็จะหายไปด้วย เช่น อาการปวดจากแผลอุบัติเหตุ เป็นต้น

ปวดเรื้อรัง เป็นอาการปวดที่ยาวนานและต่อเนื่องเกินกว่า 3 เดือน ไม่สามารถหาสาเหตุของอาการปวดได้ หรือผู้ที่มีอาการปวดในระดับยากต่อการควบคุม ปวดหลังเรื้อรัง หรือปวดจากมะเร็ง เป็นต้น

ซึ่งแนวทางการรักษาความเจ็บปวดมีได้หลายวิธี ทั้งใช้ยาและไม่ใช้ยา ที่เหมาะสมกับอาการ และระดับความเจ็บปวด

BluMed ได้ร่วมมือกับคลินิกทางการแพทย์ที่ญี่ปุ่น ในการให้คำปรึกษาและจัดการความเจ็บปวดอย่างเหมาะสม ตามอาการของแต่ละบุคคล

Share the Post:

Related Posts

Importance of preventive healthcare; how it differs from reactive treatment.

Medical Tourism หรือที่เรียกว่าการท่องเที่ยงเชิงการแพทย์ คือการที่บุคคลเดินทางข้ามไปยังต่างประเทศ เพื่อเข้ารับการรักษาหรือการบริการทางการแพทย์ที่ดีกว่าหรือเทียบเท่ากับประเทศที่ตนเองอาศัยอยู่ ซึ่งการบริการทางการแพทย์ในที่นี้ เป็นได้ทั้งการตรวจสุขภาพ เสริมความงาม หรือการรักษาเฉพาะทาง Blue Assistance ได้เห็นถึงความสำคัญของการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์นี้ จึงได้ร่วมมือกับคลินิกทางการแพทย์ในประเทศญี่ปุ่น ที่มีนวัตกรรมและการรักษาที่ถูกต้อง และตรงจุดเพื่อช่วยให้ท่านได้รับการรักษาหรือการบริการทางการแพทย์ที่ถูกต้องและเหมาะสม สนใจศึกษาและสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม Line official : @blumed

Medical Tourism นั้น คือการเดินทางมารักษาอาการบาดเจ็บร่วมกับการท่องเที่ยว เช่น คุณเดินทางไปประเทศญี่ปุ่น เพื่อที่จะผ่าตัดบอลลูนเส้นเลือดหัวใจ ส่วนครอบครัวของคุณก็ถือโอกาสในการเดินทางไปท่องเที่ยวที่ญี่ปุ่นพร้อมกันเลย ซึ่งคนไทยเราในปัจจุบัน ป่วยเป็นโรคโมยาโมยา เป็นจำนวนมาก มีอาการผิดปกติทางหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองมีความผิดปกติ จึงใช้โปรแกรมนี้ เดินทางพร้อมท่องเที่ยวเพื่อไปรักษาตัวเองในประเทศญี่ปุุ่น เนื่องจากมีนวัตกรรมทางการแพทย์ที่สูง และตัวประเทศญี่ปุ่นเองมีสภาพแวดล้อม และสภาวะที่ทำให้ทุกคนอยากไปท่องเที่ยว อีกทั้งยังมีวัฒนธรรมต่างๆที่สวยงามอีกด้วย ในวันนี้ทางเราจะมาอธิบายถึงโรคโมยาโมยา หรือ โรคหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองมีความผิดปกติ ว่ามีอาการอย่างไรบ้างครับ

ปวดเข่าเป็นอาการที่สามารถเกิดขึ้นได้จากสาเหตุหลากหลาย เช่น: การบาดเจ็บ: การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นบริเวณเข่า เช่น การกระทำกิจกรรมกีฬาหรือกิจกรรมที่ใช้กำลังทำให้เกิดบาดเจ็บเช่น ระดับของการทำกิจกรรมมากเกินไป การตกหรือกระแทกที่ข้อเข่า โรคข้อเข่า: อาการปวดเข่าอาจเป็นเชิงเรื้อรังเกี่ยวกับโรคข้อเข่า เช่น โรคข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthritis) หรือการอักเสบของเข่า การทำงานหนักหรือการใช้กำลังเกิน: การทำงานหนักหรือกิจกรรมที่ใช้กำลังในระยะเวลานานๆ อาจทำให้กล้ามเนื้อของเข่าอ่อนแรงหรืออักเสบ การบิดเข่า: การบิดเข่าอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บหรืออักเสบบริเวณเข่า ภาวะอื่นๆ: อาจมีสาเหตุจากภาวะอื่นๆ เช่น อาการปวดเข่าที่มาจากการทำงานในสภาพแวดล้อมที่ช่วยให้เกิดการเสี่ยงที่สูงขึ้น เช่น การนั่งทำงานตลอดเวลาหรือการยืนทำงานตลอดเวลา การรับรู้ปวดเข่าอย่างถูกต้องและการวินิจฉัยจะต้องพึงระวังถึงปัจจัยหลายๆ ปัจจัย เช่น ประวัติการบาดเจ็บ อาการร่วมอื่นๆ รวมถึงการตรวจร่างกายจากแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถทำการวินิจฉัยและรักษาโรคได้อย่างเหมาะสมและแม่นยำที่สุด หากคุณมีอาการปวดเข่า เราแนะนำให้ทำตามขั้นตอนเบื้องต้นต่อไปนี้ หมอสามารถรักษาอาการปวดเข่าโดยใช้วิธีการและการรักษาที่หลากหลายขึ้นอยู่กับสาเหตุของปัญหาที่ทำให้เกิดอาการปวดเข่า การรักษาปวดเข่าให้หายขาดจะขึ้นอยู่กับสาเหตุและความรุนแรงของปัญหาของแต่ละบุคคล ดังนั้น การรักษาที่เหมาะสมสำหรับคุณอาจแตกต่างกับการรักษาของบุคคลอื่น อย่างไรก็ตาม นี่คือวิธีการทั่วไปที่สามารถช่วยลดอาการปวดเข่าและส่งเสริมการหายของปัญหาได้การพักผ่อนและการฝังเข็ม: การพักผ่อนช่วงเวลาพอที่จะให้ร่างกายฟื้นตัวจากการใช้งานมากเกินไป และการฝังเข็ม (acupuncture) อาจช่วยในการลดอาการปวดเข่าและเสริมการหายของปัญหาได้ การฝึกฝนและกิจกรรมกายภาพ: โปรแกรมการฝึกฝนที่ได้รับการออกแบบโดยนักกายภาพบำบัดสามารถช่วยเสริมประสิทธิภาพของกล้ามเนื้อรอบข้อเข่าและลดอาการปวดได้ ซึ่งอาจรวมถึงการฝึกและยืดกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับข้อเข่า การว่ายน้ำก็เป็นทางเลือกที่ดีเนื่องจากมีแรงต้านน้ำที่เหลืองที่ส่งผลต่อการหายของร่างกายและสามารถลดแรงกดที่ข้อเข่าได้ การใช้ยา: การใช้ยาต้านปวดเช่น พาราเซตามอล หรืออาจมีการใช้ยาต้านการอักเสบ เช่น อินฟลามาโตปรเซสเซอร์ (NSAIDs) […]